วิธีการรับมือน้ำเค็มเบื้องต้น

ในปัจจุบันประเทศไทยประสบปัญหาน้ำเค็มไหลเข้าพื้นที่การเกษตรหลายแห่ง ซึ่งสร้างความเสียหายให้กับพื้นที่ทำการเพาะปลูกพืชมากมาย และส่งผลกระทบต่อพืชโดยตรง เช่น ปลายใบไหม้ ต้นเหี่ยว และใบเหลือง ทำให้ผลผลิตของเกษตรกรลดลง

ซึ่งสาเหตุการเกิดน้ำเค็มในแต่ละภาคแตกต่างกันไป เช่น บริเวณภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ เกิดจากในช่วงหน้าแล้งน้ำทะเลหนุนสูงทำให้มีน้ำเค็มผ่านเข้าระบบน้ำดิบในการผลิตน้ำประปา และเข้าสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ ทำให้เกิดน้ำเค็มบนดิน ส่วนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เกิดจากน้ำบาดาลเค็มและส่งผลให้น้ำผิวดินบางช่วงเกิดปัญหาความเค็ม

โดยวิธีการรับมือกับปัญหาเหล่านี้สามารถทำได้โดยจัดหาแหล่งน้ำสำรองหรือขุดสระเพื่อเก็บน้ำจืดจากแม่น้ำหรือน้ำธรรมชาติ เนื่องจากเมื่อถึงฤดูแล้งสามารถใช้น้ำสำรองในสระแทนการใช้น้ำจากธรรมชาติหรือบ่อดาลได้นั่นเอง

รูปแบบของการขุดสระ

ขั้นตอนในการขุดสระ

โดยรายละเอียดในขั้นตอนการขุดสระสามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่บทความ เทคนิคและขั้นตอนการขุดสระน้ำเพื่อการเกษตรด้วยรถขุดคูโบต้า KX080-3

จากบทความรูปแบบการขุดสระข้างต้นนอกจากช่วยในการกักเก็บน้ำเมื่อน้ำเค็มเข้าบุกรุกพื้นที่เพาะปลูกแล้ว ยังเป็นการกักเก็บน้ำหรือสำรองไว้ใช้เมื่อถึงฤดูแล้ง ซึ่งจะส่งผลให้เกษตรสามารถปลูกพืชและมีผลผลิตได้ตลอดทั้งปีนั่นเอง

บทความที่เกี่ยวข้อง

การเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวานในช่วงเวลาที่เหมาะสม จะสัมพันธ์กับความแก่-อ่อน ขนาด รูปร่าง รสชาติ และน้ำหนักของข้าวโพดหวาน ปัจจุบันข้าวโพดหวานแต่ละพันธุ์มีอายุใกล้เคียงกัน คือ จะออกดอกประมาณ 45-50 วันหลังปลูก และเก็บเกี่ยวเมื่อข้าวโพดหวานมีอายุไม่เกิน 73 วัน ระยะเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม เมื่อข้าวโพดหวาน
1. วิธีการปลูกสามารถทำได้หลายวิธีดังนี้ ปลูกแบบโรยเป็นแถวระยะระหว่างแถวขึ้นกับชนิดของพืช – โสนอัฟริกัน ปอเทือง มะแฮะ พืชตระกูลถั่วคลุมดิน เช่น ถั่วลาย ถั่วคุดซู ถั่วสไตโล ถั่วฮามาต้า ระยะระหว่างแถว 100 เซนติเมตร – ถั่วพร้า ถั่วเขียว ถั่วพุ่ม ระยะระหว่างแถว 50 เซนติเมตร หยอดเป็นหลุม