การผลิต และการจัดการมะเขือเทศ

ที่มา : สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ศูนย์ภาคเหนือ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

บทความที่เกี่ยวข้อง

ดินเค็ม เป็นหนึ่งในปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อพื้นที่การเพาะปลูก เนื่องจากมีปริมาณเกลือที่ละลายได้อยู่ในดินมากเกินไปจนส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพืช ดินเค็มที่มีปริมาณโซเดียมมากเกินไป ได้แก่ ดินโซดิก และดินเค็มโซดิก จะทาให้สมบัติทางกายภาพของดินเสีย อนุภาคดินไม่เกาะตัว เกิดการฟุ้งกระจายได้ง่าย ดินแน่น
กระชายดำเป็นพืชล้มลุกเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง มีสารสำคัญหลายชนิด ได้แก่ Borrneol, Sylvestrene, สาร 5,7-dimethoxyflavone และ สาร Flavonoids 9 ชนิด ซึ่งมีสรรพคุณทางยาที่น่าสนใจ คือ มีฤทธิ์ต้านการอักเสบและต้านเชื้อจุลินทรีย์บำรุงหัวใจ และโรคลมทุกชนิด แก้อาการปวดท้อง จุกเสียด ท้องเดิน ขับปัสสาวะ
กลุ่มชุดดินที่ 35 การกำเนิด : เกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่ และ เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางไม่ไกลนักของหินแกรนิตบริเวณลานตะพัก เชิงเขา เนินเขา หรือพื้นที่ที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน สภาพพื้นที่ : ค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน มีความลาดชัน 2-12 % การระบายน้ำ : ดี การซึมผ่านได้ของน้ำ : เร็ว