แนวโน้มการผลิตน้ำตาลในโลก 2559/60

สถานการณ์การจำหน่ายน้ำตาลทราย ให้แก่ผู้ประกอบกิจการผลิตสินค้าเพื่อการส่งออกปี พ.ศ. 2559 บริษัทผู้ผลิตสินค้าฯ ได้รับสิทธิซื้อน้ำตาลทรายโควตา ค. จ้านวน 98 บริษัท ปริมาณน้ำตาลทรายที่ให้สิทธิ จ้านวน 3,651,037 กระสอบ (100 กก./กส.) เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2558 ร้อยละ 7.32 ณ 31 กรกฏาคม 2559 บริษัทผู้ผลิตสินค้าฯใช้สิทธิซื้อน้ำตาลทราย จำนวน 98 บริษัท ปริมาณน้ำตาลทรายที่ใช้สิทธิ จำนวน 2,064,542 กระสอบ (100 กก./กส.) คิดเป็นใช้สิทธิร้อยละ 94.83 มีบริษัทที่ใช้สิทธิน้อยกว่าร้อยละ 70 จำนวน 7 บริษัท มีบริษัทที่ได้รับสิทธิแต่ไม่ขนย้ายน้ำตาลทราย จำนวน 2 บริษัท ผลการตรวจสอบการใช้สิทธิซื้อน้ำตาลทรายปี พ.ศ.2558 ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2559 พบว่าบริษัทผู้ผลิตสินค้ามีส่วนต่างการขนย้ายน้ำตาลทรายไปผลิตสินค้ากับปริมาณน้ำตาลทรายจากการแจ้งการส่งออกสินค้า มีจ้านวน 16 บริษัท เป็นปริมาณน้ำตาลทราย 36,988 กระสอบ (100 กก./กส.) บริษัทผู้ผลิตสินค้ามีส่วนต่างการขนย้ายน้ำตาลทรายไปผลิตสินค้ากับปริมาณน้ำตาลทรายจากการแจ้งการส่งออกสินค้ามีจำนวน 16 บริษัท เป็นบริษัทที่มีส่วนต่างเป็นปีที่ 1 จ้านวน 12 บริษัท เป็นบริษัทที่มีส่วนต่างเป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน จำนวน 4 บริษัท

บทความที่เกี่ยวข้อง

ปัจจุบันเป็นยุคแห่งเทคโนโลยี ทุกธุรกิจล้วนแล้วแต่นำเทคโนโลยีมาแก้ไขปัญหาที่พบเจอ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเรื่องการควบคุมคุณภาพ ลดระยะเวลา และปัญหาที่สำคัญที่สุดคือ ปัญหาเรื่องการขาดแรงงาน โดยเฉพาะภาคเกษตร ปัญหาด้านการขาดแรงงานทวีความรุนแรงขึ้นทุกปี ทำให้ต้นทุนเรื่องแรงงานกลายเป็นต้นทุนหลักของการทำธุรกิจการ
1. วิธีการปลูกสามารถทำได้หลายวิธีดังนี้ ปลูกแบบโรยเป็นแถวระยะระหว่างแถวขึ้นกับชนิดของพืช – โสนอัฟริกัน ปอเทือง มะแฮะ พืชตระกูลถั่วคลุมดิน เช่น ถั่วลาย ถั่วคุดซู ถั่วสไตโล ถั่วฮามาต้า ระยะระหว่างแถว 100 เซนติเมตร – ถั่วพร้า ถั่วเขียว ถั่วพุ่ม ระยะระหว่างแถว 50 เซนติเมตร หยอดเป็นหลุม
ภาวะภัยแล้ง ที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งเนื่องจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ ส่งผลกระทบต่อผลผลิตทางการเกษตรเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะมันสำปะหลัง ซึ่งปลูกในสภาพพื้นที่โล่งและขาดสิ่งปกคลุมหน้าดิน ทำให้น้ำส่วนใหญ่ระเหยออกจากผิวดิน เมื่อน้ำในดินลดลงมากและฝนขาดช่วง จึงเกิดสภาพดินแห้ง ต้นมันสำปะหลังขาดน้ำ